Problem-solving & Decision-making

In house training
แก้ปัญหาต้องอาศัยการฝึกอบรมทักษะต่างๆ ได้แก่ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการออกแบบที่สร้างสรรค์

การแก้ปัญหาเป็นทักษะที่สำคัญในการจัดการงานในยุคปัจจุบัน และทุกองค์กรไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน หรือองค์กรไม่แสวงผลกำไร เพราะในแต่ละวันปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรมีเพิ่มขึ้น และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ ได้แก่ การเพิ่มขนาดของผลกระทบมากขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุหลักในการเพิ่มความซับซ้อนของปัญหาคือความซับซ้อนของงาน การประสานงานที่ชับข้อน ความต้องการของลูกค้าที่เพิ่มความซับซ้อนอย่างต่อเนื่อง และ  ที่สำคัญปัญหาที่เพิ่มความซับซ้อนมาจากความซับซ้อน และความรวดเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลภายใน และภายนอกองค์กร 

การแก้ปัญหาต้องอาศัยการฝึกอบรมทักษะต่างๆ ได้แก่ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการออกแบบที่สร้างสรรค์ ทักษะการคิดเชิงบวก ทักษะการจัดการเชิงกลยุทธ์ และทักษะการคิดเชิงตรรกะ เพื่อช่วยในการสร้างวิธีแก้ปัญหาที่ตรงจุด และไม่สร้างปัญหาใหม่หลังจากแก้ไขปัญหาไปแล้ว

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้เข้าใจถึงเทคนิคการวิเคราะห์สภาพของปัญหาและสาเหตุของปัญหา
  2. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์การเกิดปัญหาเชิงซับซ้อนและปัญหาเชิงเดี่ยว
  3. เพื่อให้สามารถสร้างแนวทางแก้ไขปัญหาง่ายๆ และปัญหาที่ซับซ้อนให้เหมาะสมกับสภาพของปัญหาที่แท้จริงได้

ระยะเวลาในการฝึกอบรม 1 วัน (9.00-16.00) น. รวม 6 ชั่วโมง

หลักสูตรนี้เหมาะกับ หัวหน้าส่วนงาน หรือผู้บริหารระดับกลาง ไม่เกิน 30 คน ต่อรุ่น

เนื้อหาการฝึกอบรม

Module 1: กระบวนการแก้ไขปัญหา และการทำความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา

  • รู้ปัญหาและความต้องการที่แท้จริงหลังจากแก้ไขปัญหาแล้ว
  • กระบวนการแก้ไขปัญหา
  • การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา

Module 2: การจัดการปัญหาที่ซับซ้อน

  • การเกิดขึ้นของปัญหาที่ซับซ้อน
  • การเกิดขึ้นของปัญหาที่ซับซ้อนเทคนิคการเลือก และตัดสินใจ 5 ขั้นตอน
  • การออกแบบแนวทางแก้ไขปัญหา
  • การวิเคราะห์ผลกระทบของการแก้ปัญหา

Module 3: กระบวนการวิเคราะห์จุดเริ่มต้นของปัญหา

  • การสร้างคำถามเพื่อทำความเข้าใจปัญหาอย่างลึกซึ้ง
  • แยกแยะระหว่างปัญหาเฉพาะหน้าและปัญหาของระบบ
  • การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
  • การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ

Module 4 การออกแบบโครงสร้างการทำงานเพื่อการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ

  • รูปแบบของโครงสร้างการทำงาน
  • การสร้างแนวคิดใหม่ในการออกแบบโครงสร้างการแก้ปัญหา
  • การวัดประสิทธิภาพของโครงสร้างและผลกระทบ
  • การออกแบบโครงสร้างการแก้ปัญหาและการตัดสินใจอย่างระมัดระวัง

รูปแบบการฝึกอบรม

การเรียนจึงไม่ใช่การนั่งเรียนแบบบรรยายและจดจำ แต่เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบพิเศษ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีประสบการณ์ตรง และได้เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผ่านกระบวนการต่าง ๆ ที่นำมาจากการประยุกต์ 3 ศาสตร์ที่สำคัญต่อการเรียนรู้ในยุคใหม่เข้าด้วยกัน ได้แก่

  1. Positive Psychology หลักจิตวิทยาเชิงบวก เพื่อสร้างทัศนคติที่ใช่ เกิดการเปลี่ยนแปลงจากภายใน
  2. Neuroscience หลักวิทยาศาสตร์สมอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด มีความเข้าใจ นำไปใช้ได้จริง
  3. Facilitation กระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์ตรง สร้างพฤติกรรมใหม่ให้เกิดผลลัพธ์ที่ยั่งยืน
กิจกรรมสร้างประสบการณ์เรียนรู้ และ Workshop 45%
กิจกรรมตกผลึกความรู้จากผู้เรียน 35%
Storytelling และทฤษฎี 20%

 

อาจารย์ผู้สอน

ดร. นารา กิตติเมธีกุล

ที่ปรึกษาและนักวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาในองค์กรโดยใช้เทคนิคการคิดวิเคราะห์และการตีความเพื่อให้ได้ภาพรวมของปัญหาที่ชัดเจน

ขอใบเสนอราคาได้ที่

Facebook

Lorem Ipsum is simply dummy text.

Line oa

@njoynara

WHATAPP

+66 96 185 8865

EMAIL

Lorem Ipsum is simply dummy text.